เนื้อหาหนังสือการบัญชีบริหาร
บทที่ 1 บทนำ : องค์ความรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 2 แนวความคิดเกี่ยวกับต้นทุน
บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน – จำนวน – กำไร
บทที่ 4 ระบบการคิดต้นทุนแบบดั้งเดิม
บทที่ 5 ต้นทุนกิจกรรม
บทที่ 6 งบประมาณ
บทที่ 7 งบประมาณยืดหยุ่นและต้นทุนมาตรฐาน
บทที่ 8 วิธีคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์
บทที่ 9 การบัญชีตามความรับผิดชอบและราคาโอน
บทที่ 10 การตัดสินใจและข้อมูลที่นำมาใช้ในการตัดสินใจ
บทที่ 11 งบประมาณการลงทุน
บทที่ 12 การบริหารงานตามแนวคิดสมัยใหม่
- ข้อมูลสำคัญอย่างไร และผู้ใช้จำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในข้อมูลหรือไม่
- ทำไมผู้บริหารจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับการบัญชีบริหาร
- รายงานหรืองบการเงิน ซึ่งได้จากระบบข้อมูลบัญชีทางการบัญชีการเงิน มีลักษณะอย่างไร
- งบการเงินที่มีคุณภาพ มีลักษณะอย่างไร
- การบัญชีการเงินและการบัญชีบริหารมีความเหมือนกัน หรือต่างกันอย่างไร
- บทสรุป
- ภาคผนวก 1 : ประเภทของธุรกิจ
- ภาคผนวก 2 : บทบาทของหน่วยงานทางบัญชีต่อการดำเนินธุรกิจ
บทที่ 2 แนวความคิดเกี่ยวกับต้นทุน
- ความหมายของต้นทุนโดยทั่วไป
- ต้นทุนและค่าใช้จ่าย
- การจำแนกต้นทุนตามหน้าที่การทำงาน (ต้นทุนการผลิต ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการผลิต การแสดงรายการต้นทุนในงบการเงิน)
- การจำแนกต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุน (ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ ต้นทุนผสม ต้นทุนตามขั้น)
- การจำแนกต้นทุนตามสิ่งที่ต้องการคิดต้นทุน (ต้นทุนทางตรง ต้นทุนทางอ้อม)
- การจำแนกต้นทุนเพื่อการควบคุมต้นทุน (ต้นทุนที่ควบคุมได้ ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้)
- การจำแนกต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ (ต้นทุนส่วนต่าง ต้นทุนเสียโอกาส ต้นทุนจม)
- การวิเคราะห์ต้นทุนผสม (High-Low Method, Scattergraph Method, Regression Analysis Method)
- งบกำไรขาดทุนแบบแสดงกำไรส่วนเกิน
- บทสรุป
- ปัญหาท้ายบทเพื่อการทบทวนพร้อมเฉลย
- แบบฝึกหัด
บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน – จำนวน – กำไร
- แนวความคิดในการวิเคราะห์ต้นทุน – จำนวน – กำไร
- การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (การคำนวณหาจุดคุ้มทุนโดยวิธีสมการ การคำนวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้สูตร การหาจุดคุ้มทุนโดยใช้กราฟ การวางแผนกำไร ส่วนเกินจุดคุ้มทุน ค่าความยืดหยุ่นของกำไร)
- การวางแผนและตัดสินใจเพื่อเปลี่ยนแปลงผลการดำเนินงาน
- การวิเคราะห์ส่วนผสมการขาย
- ข้อสมมติในการวิเคราะห์ต้นทุน – จำนวน – กำไร
- บทสรุป
- ปัญหาท้ายบทเพื่อการทบทวนพร้อมเฉลย
- แบบฝึกหัด
บทที่ 4 ระบบการคิดต้นทุนแบบดั้งเดิม
- แนวความคิดในการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์
- ระบบการคิดต้นทุนแบบดั้งเดิม (ต้นทุนงานสั่งทำ ต้นทุนช่วงการผลิต เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดสรรต้นทุนทางอ้อม)
- ระบบต้นทุนงานสั่งทำ (เอกสารต่างๆที่ใช้ในการรวบรวมและติดตามต้นทุน ต้นทุนจริงและต้นทุนปกติ การจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตโดยใช้ต้นทุนจริง)
- ระบบต้นทุนงานสั่งทำ : ใช้ต้นทุนปกติ (การจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตโดยใช้ต้นทุนปกติ ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต การบันทึกบัญชี งบต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จและงบกำไรขาดทุน อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตประจำแผนก)
- ระบบต้นทุนช่วงการผลิต
- บทสรุป
- ภาคผนวก 1 : การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตประจำแผนก
- ภาคผนวก 2 : การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์กรณีมีงานระหว่างทำเกิดขึ้นในแผนก
- แบบฝึกหัด
บทที่ 5 ต้นทุนกิจกรรม
- การจัดการและวิเคราะห์ต้นทุนคืออะไร
- อะไรคือข้อผิดพลาดของระบบต้นทุนแบบดั้งเดิม
- ข้อบกพร่องของระบบต้นทุนแบบดั้งเดิม
- ต้นทุนฐานกิจกรรม
- ข้อดีของระบบต้นทุนฐานกิจกรรม
- ธุรกิจจะเลือกปัจจัยที่ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายการผลิตได้อย่างไร
- บทสรุป
- ปัญหาท้ายบทเพื่อการทบทวนพร้อมเฉลย
- แบบฝึกหัด
บทที่ 6 งบประมาณ
- ความหมายของงบประมาณ
- งวดเวลาของงบประมาณ
- ผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำงบประมาณ
- การควบคุมโดยงบประมาณ
- ส่วนประกอบของงบประมาณหลัก
- ความสัมพันธ์ระหว่างงบประมาณต่างๆ
- การจัดทำงบประมาณหลัก
- ต้นทุนกิจกรรมและการจัดทำงบประมาณ
- บทสรุป
- แบบฝึกหัด
บทที่ 7 งบประมาณยืดหยุ่นและต้นทุนมาตรฐาน
- การใช้ผลต่างเพื่อการวางแผนและการควบคุม
- ข้อจำกัดในการนำเอาผลการปฏิบัติงานจริงไปเปรียบเทียบกับงบประมาณคงที่
- งบประมาณยืดหยุ่น
- ผลต่างวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง
- อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตและงบประมาณยืดหยุ่น
- การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต
- การรายงานผลต่างโดยใช้ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเงิน
- การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตในกรณีที่มีการผลิตสินค้ามากกว่า 1 ชนิด
- ต้นทุนกิจกรรมและการวิเคราะห์ผลต่าง
- บทสรุป
- แบบฝึกหัด
บทที่ 8 วิธีคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์
- การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์โดยใช้ต้นทุนจริง
- วิธีต้นทุนคิดเข้างานและต้นทุนผันแปรโดยใช้ต้นทุนมาตรฐาน
- ข้อเปรียบเทียบระหว่างวิธีต้นทุนคิดเข้างานกับวิธีต้นทุนผันแปร
- ควรใช้วิธีต้นทุนคิดเข้างานเพื่อการประเมินผลงานหรือไม่
- วิธีต้นทุนวัตถุทางตรง (Throughput Costing) โดยใช้ต้นทุนมาตรฐาน
- การเปรียบเทียบวิธีต้นทุนคิดเข้างานกับวิธีต้นทุนวัตถุดิบทางตรง
- เปรียบเทียบการคิดต้นทุนสินค้าทั้ง 3 วิธี
- บทสรุป
- แบบฝึกหัด
บทที่ 9 การบัญชีตามความรับผิดชอบและราคาโอน
- การบัญชีตามความรับผิดชอบ
- การประเมินผลการปฏิบัติงานของศูนย์กำไร
- การประเมินผลการปฏิบัติงานของศูนย์ลงทุน
- การเลือกใช้ ROI และ RI ในการตัดสินใจลงทุน
- การกำหนดราคาโอน
- การโอนสินค้าระหว่างประเทศ
- บทสรุป
- แบบฝึกหัด
บทที่ 10 การตัดสินใจและข้อมูลที่นำมาใช้ในการตัดสินใจ
- ต้นทุนและรายได้ที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ
- การผลิตชิ้นส่วนเองหรือซื้อจากบุคคลภายนอก
- การตัดสินใจรับคำสั่งซื้อพิเศษ
- การตัดสินใจเกี่ยวกับส่วนผสมการขายภายใต้ข้อจำกัด
- การตัดสินใจยุบเลิกหรือเพิ่มสายผลิตภัณฑ์หรือส่วนงาน
- การตัดสินใจเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่เพื่อทดแทนอุปกรณ์เก่า
- ผลิตภัณฑ์ร่วมและการตัดสินใจว่าจะขายหรือผลิตต่อ
- บทสรุป
- แบบฝึกหัด
บทที่ 11 งบประมาณการลงทุน
- เหตุใดข้อมูลที่แสดงในงบประมาณ จึงต้องอยู่ในลักษณะที่เป็นตัวเลข ที่มีหน่วยเป็นสกุลเงิน
- งบประมาณการลงทุน คืออะไร
- กรรมการจะใช้วิธีใดในการคัดเลือกโครงการ ถ้ากิจการมีงบประมาณลงทุนจำกัด [กระแสเงินสดในอนาคตที่ถูกปรับลดค่าให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน (Discounted Cash Flow - DCF) วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value - NPV) วิธีอัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return - IRR) วิธีระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) วิธีอัตราผลตอบแทนทางบัญชี (Accounting Rate of Return - ARR)]
- การประมาณการกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับโครงการจำเป็นต้องคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดจากอัตราภาษีเงินได้หรือไม่
- โครงการที่มีการลงทุนในสินทรัพย์เสื่อมราคา เราต้องคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดจากรายการ “ค่าเสื่อมราคา” หรือไม่
- การจัดทำ และวิเคราะห์โครงการลงทุน จำเป็นต้องมีข้อมูลอะไรบ้าง
- การจัดทำโครงการลงทุน และวิธีวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ
- การจัดอันดับโครงการลงทุน (Projects Ranking)
- บทสรุป
- ภาคผนวก : แนวความคิดเกี่ยวกับค่าปัจจุบัน
- แบบฝึกหัด
บทที่ 12 การบริหารงานตามแนวคิดสมัยใหม่
- ระบบการดำเนินงานแบบทันเวลาพอดี (Just-in-Time Systems)
- การบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management; TQM) [คุณภาพของสินค้า ต้นทุนคุณภาพ (Cost of Quality) การรายงานต้นทุนคุณภาพ]
- การวัดผลปฏิบัติงานแบบดุลยภาพ (Balanced Scorecard) [ความสำคัญของการวัดผลการปฏิบัติงานของตัวองค์กร ข้อจำกัดของตัวชี้วัดที่เป็นตัวเงิน การใช้ Balanced Scorecard เป็นเครื่องมือในการวัดผล]
- บทสรุป
- ภาคผนวก : การพัฒนาองค์กรสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงหรือความเป็นเลิศ
ขอดูแบบฝึกหัดบทที่6 (แบบเฉลย)
ตอบลบได้ไหมค่ะ